最新消息 รวม - Page 2 of 4 - imedtac Co., Ltd.

ข่าวสาร 

### ความเสมอภาคด้านสุขภาพ: การเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์อย่างเท่าเทียมกันทั่วโลก ความไม่เท่าเทียมกันในด้านการเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกจวบจนทุกวันนี้ องค์การอนามัยโลก ( WHO) กล่าวว่าความเสมอภาคด้านสุขภาพ (health equity) หมายถึงการที่ทุกคนสามารถเข้าถึงความต้องการเฉพาะตัวได้โดยไม่โดนคำนึงถึง เชื้อชาติ เพศ อายุ หรือชนชั้นทางสังคม แนวคิดนี้เน้นย้ำว่าทุกคนสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและเหมาะสมได้โดยไม่ถูกคำนึงถึงบริบททางสังคมของพวกเขา     อย่างไรก็ตามทรัพยากรทางการแพทย์ที่ดีที่สุดและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ ในขณะที่พื้นที่ชนบทมีทรัพยากรอย่างจำกัดซึ่งปัญหานี้ยังคงเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลกและการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีค่าเหล่านี้อย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่ของประเทศนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก แต่ด้วยเทคโนโลยีการแพทย์ทางไกล การกระจายทรัพยากรทางการแพทย์เป็นไปได้ง่ายมากขึ้นและยังสามารถช่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในตัวเมืองสามารถสื่อสารกับทีมแพทย์ฝั่งท้องถิ่นได้ง่ายซึ่งเป็นการยกระดับมาตรฐานทางการแพทย์ในท้องถิ่นได้ สุดท้ายความเสมอภาคด้านสุขภาพจะค่อยๆกลายเป็นจริง    ###...
### ความเสมอภาคด้านสุขภาพ: การเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์อย่างเท่าเทียมกันทั่วโลก ความไม่เท่าเทียมกันในด้านการเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกจวบจนทุกวันนี้ องค์การอนามัยโลก ( WHO) กล่าวว่าความเสมอภาคด้านสุขภาพ (health equity) หมายถึงการที่ทุกคนสามารถเข้าถึงความต้องการเฉพาะตัวได้โดยไม่โดนคำนึงถึง เชื้อชาติ เพศ อายุ หรือชนชั้นทางสังคม แนวคิดนี้เน้นย้ำว่าทุกคนสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและเหมาะสมได้โดยไม่ถูกคำนึงถึงบริบททางสังคมของพวกเขา   อย่างไรก็ตามทรัพยากรทางการแพทย์ที่ดีที่สุดและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ ในขณะที่พื้นที่ชนบทมีทรัพยากรอย่างจำกัดซึ่งปัญหานี้ยังคงเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลกและการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีค่าเหล่านี้อย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่ของประเทศนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก แต่ด้วยเทคโนโลยีการแพทย์ทางไกล การกระจายทรัพยากรทางการแพทย์เป็นไปได้ง่ายมากขึ้นและยังสามารถช่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในตัวเมืองสามารถสื่อสารกับทีมแพทย์ฝั่งท้องถิ่นได้ง่ายซึ่งเป็นการยกระดับมาตรฐานทางการแพทย์ในท้องถิ่นได้ สุดท้ายความเสมอภาคด้านสุขภาพจะค่อยๆกลายเป็นจริง   ###...
สุขภาพดิจิทัลกลายเป็นวลีในอุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพแต่ความหมายที่แท้จริงคืออะไรกันแน่   สุขภาพดิจิทัลคือการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อยกระดับการบริการทางการแพทย์ โดยทั่วไปจะครอบคลุมถึงระบบแพทย์ทางไกล แอปพลิเคชั่นสุขภาพ อุปกรณ์สวมใส่อัจฉริยะ และบันทึกสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ (EHR)   เทคโนโลยีแปลกใหม่นี้ไม่เพียงแต่ส่งผลดีต่อประชากรในพื้นที่ตัวเมืองเท่านั้นแต่ยังส่งผลดีต่อพื้นที่ชนบทที่ด้อยโอกาสในการเข้าถึงการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพ   ข้อดีของสุขภาพดิจิทัลในพื้นที่ชนบท  การเพิ่มโอกาสการเข้าถึงการรักษาสุขภาพ ระบบแพทย์ทางไกล เช่น การวินิจฉัยและให้คำปรึกษาการรักษาผ่านการประชุมทางวิดีโอ ช่วยให้บุคคลในพื้นที่ชนบทหรือพื้นที่ด้อยโอกาสสามารถติดต่อกับคลินิก โรงพยาบาล หรือแพทย์ปฐมภูมิที่อยู่ห่างไกลได้โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางไกล ในส่วนนี้ผู้ป่วยจะได้รับคำแนะนำ การวินิจฉัยและแผนการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพในระยะทางไกลซึ่งแก้ไขปัญหาในส่วนที่บุคลาการทางการแพทย์ในพื้นที่อาจไม่มีความเชี่ยวชาญในการวินิจฉัยโรคนั้นๆ เพิ่มประสิทธิภาพในการดูแล : ในภูมิภาคที่มีข้อจำกัดในด้านทรัพยากรทางการแพทย์นั้นสามารถใช้ระบบแพทย์ทางไกลเพื่อเชื่อมโยงระหว่างคลินิกในท้องถิ่นกับผู้เชี่ยวชาญในตัวเมือง เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับบริการดูแลสุขภาพที่ตรงเวลา แม่นยำ และมีคุณภาพสูงมากขึ้น โดยการให้คำปรึกษาจากผู้เชี่ยวชาญแบบเรียลไทม์ผ่านระบบแพทย์ทางไกลและทีมแพทย์ระยะไกลช่วยปรับปรุงคุณภาพการดูแลสุขภาพโดยรวม...
การเกิดภัยพิบัติส่งผลให้มีผู้เสียชีวิต บาดเจ็บ และสูญหายหลายพันราย บ้านเรือนมากกว่า 200 หลังคาเรือน ถูกไฟไหม้ น้ำไม่ไหลและไฟฟ้าดับ รวมถึงสถานพยาบาลได้รับความเสียหาย ในสถานการณ์เช่นนี้ จะทำอย่างไรให้การรักษาทางการแพทย์แก่ผู้ประสบภัยมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับโรงพยาบาล ในเมื่อทรัพยากรทางการแพทย์มีอยู่อย่างจำกัด?  ตามรายงานของ Notaya TV โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยไอจิ (Aichi University Hospital) ได้ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติโดยการส่งโรงพยาบาลตู้คอนเทนเนอร์ (Medical Container)  ตู้คอนเทนเนอร์พิเศษนี้ติดตั้งห้องตรวจประสิทธิภาพเทียบเท่ากับโรงพยาบาล ซึ่งเป็นตู้คอนเทนเนอร์ทางการแพทย์ใหม่ล่าสุดจากบริษัทการแพทย์ของญี่ปุ่น “Sansei” ...
กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงเศรษฐกิจไต้หวัน และศูนย์วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโลหะ ไต้หวัน จับมือผู้ประกอบการการแพทย์อัจฉริยะไทย สร้าง “การแพทย์ฉุกเฉินทางไกล - ตรวจจับภาวะเลือดออกในสมองด้วย AI” ภายใต้การส่งเสริมของกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงเศรษฐกิจไต้หวัน ศูนย์วิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมโลหะ ไต้หวัน ได้อัดฉีดทรัพยากรสู่ “แผนการเพิ่มมูลค่าในการตรวจสอบตลาดผลิตภัณฑ์นวัตกรรมทางการแพทย์” และให้คำปรึกษาแก่ผู้ประกอบการด้านอุปกรณ์การแพทย์ไต้หวันที่ได้รับการรับรองจากสำนักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขและสวัสดิการของไต้หวัน (TFDA) เพื่อผลักดันนวัตกรรมทางการแพทย์ของไต้หวันสู่การแพทย์อัจฉริยะในต่างประเทศ พร้อมรวบรวมข้อมูลประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิก ซึ่งช่วยให้อุปกรณ์การแพทย์คุณภาพสูงของไต้หวันเข้าสู่อุตสาหกรรมการแพทย์อัจฉริยะ เพื่อบรรลุเป้าหมายในการส่งเสริมแผนการตรวจสอบตลาดในต่างประเทศ และเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมในระดับสากล ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา...
Our Malaysian partner, BCM Alliance, participated in APHM International Healthcare Conference & Exhibition 2023, which is held at the Kuala Lumpur Convention Center from May...
2
Scroll to Top