คำนำ ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว อุตสาหกรรมการดูแลสุขภาพกำลังเปลี่ยนแปลงและก้าวเข้าสู่ยุคดิจิทัลอย่างลึกซึ้ง ระบบโรงพยาบาลอัจฉริยะนำเทคโนโลยี IoT, AI และ Big Data มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เช่น กระบวนการอัตโนมัติต่างๆ และสร้างรูปแบบการดูแลที่มุ่งเน้นผู้ป่วย ซึ่งการใช้เทคโนโลยีเหล่านี้ช่วยยกระดับคุณภาพและประสิทธิภาพทางการแพทย์ให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถดูแลผู้ป่วยได้ดีขึ้น พร้อมทั้งส่งมอบประสบการณ์ทางการแพทย์ที่มีคุณภาพสูงขึ้น คำนิยามและคุณลักษณะของโรงพยาบาลอัจฉริยะ Enisa (2016) ให้คำจำกัดความของโรงพยาบาลอัจฉริยะว่าเป็นสถานพยาบาลที่ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการต่างๆ ทำให้การดูแลผู้ป่วยเป็นไปโดยอัตโนมัติ และเพิ่มฟังก์ชันการทำงานใหม่ๆ ในขณะเดียวกัน Siddharth (2017)...
ข่าวสาร
- หน้าหลัก
- /
- 最新消息
“งานประชุมสัมมนาการดูแลสุขภาพอัจฉริยะไต้หวัน-ไทย 2024” จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ร่วมหารือการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสุขภาพที่ยั่งยืน โรงพยาบาลจางฮั่วคริสเตียน ร่วมกับสภาส่งเสริมการค้าและการส่งออกไต้หวัน และศูนย์วิจัยนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในการจัด “งานประชุมสัมมนาการดูแลสุขภาพอัจฉริยะไต้หวัน-ไทย 2024” ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ซึ่งประสบความสำเร็จอย่างสูงในการดึงดูดความสนใจจากผู้เชี่ยวชาญกว่า 200 ท่าน ในสาขาการแพทย์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพอัจฉริยะเข้าร่วมงาน โดยการสัมมนามุ่งเน้นไปที่ประเด็นสำคัญในปัจจุบัน เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ESG...
ห้องผ่าตัดไฮบริด (Hybrid Operating Room หรือ Hybrid OR) เป็นนวัตกรรมที่ได้รับการพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อข้อจำกัดของห้องผ่าตัดแบบดั้งเดิม ซึ่งมักประสบปัญหาด้านพื้นที่ที่จำกัด ความยากลำบากในการเคลื่อนย้ายอุปกรณ์ และการรวบรวมของระบบภาพและข้อมูลที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประสิทธิภาพในการผ่าตัดและความปลอดภัยของผู้ป่วย โดยปัญหาเหล่านี้ไม่เพียงส่งผลกระทบต่อการทำงานของทีมแพทย์ แต่ยังมีผลกระทบโดยตรงต่อผลลัพธ์ของการผ่าตัด ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์ ห้องผ่าตัดไฮบริดและห้องผ่าตัดอัจฉริยะ (Smart OR) ได้กลายมาเป็นทางเลือกใหม่สำหรับการผ่าตัด ห้องผ่าตัดไฮบริดรวบรวมอุปกรณ์ภาพขั้นสูงและเครื่องมือผ่าตัดเข้าด้วยกัน ช่วยเพิ่มความแม่นยำในการผ่าตัด ลดระยะเวลาในการผ่าตัด และลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ห้องผ่าตัดอัจฉริยะยังผสานรวมเทคโนโลยีดิจิทัลเข้าไปด้วย...
โรงพยาบาลจางฮั่วคริสเตียน เดินหน้าจัด "งานประชุมสัมมนาการดูแลสุขภาพอัจฉริยะไต้หวัน-ไทย 2024" ในวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567 ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ประเทศไทย เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการแพทย์ระหว่างไต้หวันและไทย รวมถึงช่วยยกระดับการพัฒนาทางการแพทย์อย่างยั่งยืนในระดับโลก โดยหัวข้อหลักในงานสัมมนาครั้งนี้คือ "การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพภูมิอากาศ, ESG และสุขภาพอย่างยั่งยืน" พร้อมเชิญผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์จากไต้หวันและไทยมาเข้าร่วมเสวนาเกี่ยวกับความท้าทายและแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสภาพแวดล้อมในระดับสากล งานสัมมนาครั้งนี้ได้เชิญผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการในแวดวงการแพทย์ รวมถึงตัวแทนบริษัทด้านอุตสาหกรรมการแพทย์จากทั้งไต้หวันและไทย มาร่วมพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีการดูแลสุขภาพอัจฉริยะในระดับสากล ทั้งยังถือเป็นอีกหนึ่งโอกาสในการหารือเกี่ยวกับการเผชิญความท้าทายทางการแพทย์ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ ควบคู่ไปกับการเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม (ESG) ในสถานพยาบาลให้มีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น...
### ความเสมอภาคด้านสุขภาพ: การเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์อย่างเท่าเทียมกันทั่วโลก ความไม่เท่าเทียมกันในด้านการเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกจวบจนทุกวันนี้ องค์การอนามัยโลก ( WHO) กล่าวว่าความเสมอภาคด้านสุขภาพ (health equity) หมายถึงการที่ทุกคนสามารถเข้าถึงความต้องการเฉพาะตัวได้โดยไม่โดนคำนึงถึง เชื้อชาติ เพศ อายุ หรือชนชั้นทางสังคม แนวคิดนี้เน้นย้ำว่าทุกคนสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและเหมาะสมได้โดยไม่ถูกคำนึงถึงบริบททางสังคมของพวกเขา อย่างไรก็ตามทรัพยากรทางการแพทย์ที่ดีที่สุดและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ ในขณะที่พื้นที่ชนบทมีทรัพยากรอย่างจำกัดซึ่งปัญหานี้ยังคงเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลกและการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีค่าเหล่านี้อย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่ของประเทศนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก แต่ด้วยเทคโนโลยีการแพทย์ทางไกล การกระจายทรัพยากรทางการแพทย์เป็นไปได้ง่ายมากขึ้นและยังสามารถช่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในตัวเมืองสามารถสื่อสารกับทีมแพทย์ฝั่งท้องถิ่นได้ง่ายซึ่งเป็นการยกระดับมาตรฐานทางการแพทย์ในท้องถิ่นได้ สุดท้ายความเสมอภาคด้านสุขภาพจะค่อยๆกลายเป็นจริง ###...
ความเสมอภาคด้านสุขภาพ: การเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์อย่างเท่าเทียมกันทั่วโลก ความไม่เท่าเทียมกันในด้านการเข้าถึงทรัพยากรทางการแพทย์ยังคงเป็นปัญหาสำคัญระดับโลกจวบจนทุกวันนี้ องค์การอนามัยโลก ( WHO) กล่าวว่าความเสมอภาคด้านสุขภาพ (health equity) หมายถึงการที่ทุกคนสามารถเข้าถึงความต้องการเฉพาะตัวได้โดยไม่โดนคำนึงถึง เชื้อชาติ เพศ อายุ หรือชนชั้นทางสังคม แนวคิดนี้เน้นย้ำว่าทุกคนสามารถเข้าถึงการบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ ปลอดภัยและเหมาะสมได้โดยไม่ถูกคำนึงถึงบริบททางสังคมของพวกเขา ข้อดีของการปรึกษาแพทย์ออนไลน์ อย่างไรก็ตามทรัพยากรทางการแพทย์ที่ดีที่สุดและแพทย์ผู้เชี่ยวชาญส่วนใหญ่มักกระจุกตัวอยู่ในเมืองใหญ่ ในขณะที่พื้นที่ชนบทมีทรัพยากรอย่างจำกัดซึ่งปัญหานี้ยังคงเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลกและการจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่มีค่าเหล่านี้อย่างทั่วถึงในทุกพื้นที่ของประเทศนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปได้ยาก แต่ด้วยเทคโนโลยีการแพทย์ทางไกล การกระจายทรัพยากรทางการแพทย์เป็นไปได้ง่ายมากขึ้นและยังสามารถช่วยให้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญในตัวเมืองสามารถสื่อสารกับทีมแพทย์ฝั่งท้องถิ่นได้ง่ายซึ่งเป็นการยกระดับมาตรฐานทางการแพทย์ในท้องถิ่นได้ สุดท้ายความเสมอภาคด้านสุขภาพจะค่อยๆกลายเป็นจริง การพัฒนาของการแพทย์ทางไกลและสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดิจิทัล (Digital...